การเลือกอ่านหนังสือ
แบบที่ ๑
๑.
ส่งเสริมความรู้และเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตให้มีความเจริญในด้านต่าง ๆ
๒.
ส่งเสริมสติปัญญา ให้พัฒนาตนเองให้รู้จักคิด
สังเกต มีเหตุผล
สามารถนำความรู้จากการอ่านมาใช้ประโยชน์ทั้งแก่ตนเอง และแก่่ส่วนรวม รวมทั้งแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
๓.
ส่งเสริมความเข้าใจทางภาษา และการใช้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมตามวัยและสติปัญญา
๔.
ส่งเสริมการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
ช่วยให้เกิดความสนใจที่จะอ่านและเรียนรู้
อ้างอิง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. การเลือกหนังสืออ่าน
หนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ หน้า
๑๗๑. กรุงเทพฯ : องค์การค้า สกสค.
https://www.youtube.com/watch?v=gwiHxH5bUlo
แบบที่ ๒
๑.
เลือกหนังสือที่มีสาระเรื่องราวตรงกับความต้องการหรือความจำเป็นที่ต้องอ่าน
๒. เลือกหนังสือที่ดีมีคุณลักษณะ ดังนี้
๒.๑
หนังสือที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่าดี
๒.๒
หนังสือที่มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าดี
๒.๓
หนังสือที่ได้รับรางวัลสำคัญ ๆ ในการประกวดขององค์กรที่มีคุณภาพ
๒.๔
หนังสือซึ่งเขียนโดยนักเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของแวดวงนักอ่าน
๒.๕
หนังสือที่มีคุณค่าดีพร้อมทุกด้าน
ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านความคิด
ด้านกลวิธี ด้านทางภาษา ด้านรูปแบบและการนำเสนอ
๒.๖
หนังสือที่ได้รับการยอมรับศึกษาสืบทอดกันมาทุกยุคทุกสมัย
๒.๗
เลือกหนังสือที่จะไม่โน้มนำไปในทางเสื่อมทั้งปวง
(ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ๒๕๔๐, หน้า ๑๙ - ๒๐)
แบบที่
๓ ตามประเภทของหนังสือ
๑.ประเภทให้ความรู้
เป็นหนังสือที่มีเนี้อหาเกี่ยวกับความรู้ในเรื่องต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน
หนังสืออ้างอิง หนังสือรวมบทความ
๒.ประเภทให้ความบันเทิง
เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาให้ความเพลิดเพลิน เช่น หนังสือนิทาน หนังสือ นวนิยาย
หนังสือการ์ตูน
https://sites.google.com/site/wichaphasathiyp2/kar-leuxk-hnangsux
มีความเศร้า
ตอบลบ